รูบิคเสริมพัฒนาการ (Rubik) เล่นแล้วดีอย่างไร ? เด็กเล่นได้ ผู้ใหญ่เล่นดี ของเล่นที่ไม่เคยตกยุค

รูบิคเสริมพัฒนาการ

รูบิคเสริมพัฒนาการ ทำความรู้จัก ‘รูบิค’ ของเล่นเสริมพัฒนาการ ที่ไม่เคยตกยุค

รูบิคเสริมพัฒนาการ เมื่อพูดถึงเจ้า Rubik คนมักจะนึกถึง ลูกบาศก์สี่เหลี่ยม ที่มีช่องตาราง หลากสีเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็น เขียว แดง น้ำเงิน ส้ม เหลือง และขาว แต่รู้ไหมว่า ? แท้จริงแล้วรูบิค นั้นมีหลายรูปแบบเลย! แถมเยอะมากด้วย ซึ่งแน่นอนว่า วิธีการเล่น หรือสูตรการเล่น ไม่เหมือนกันแน่นอน! เอาเป็นว่าเราไป รู้จักเจ้าลูกบาศก์ อันนี้ให้มากขึ้นกันดีกว่า ว่ามีจุดเริ่มต้น มาจากอะไร และทำไมถึงกลายเป็น 1 ในของเล่นที่ดี ที่สุดในโลก ??

รูบิคเสริมพัฒนาการ จุดกำเนิดของ ของเล่น รู บิ ค

Rubik คือของเล่นที่มี มานานมากแล้ว ตั้งแต่สมัยก่อน และได้รับความนิยม จนช่วงหลังก็เงียบไป จนช่วงยุคใหม่ ที่รูบิคกลับมา ได้รับความนิยมอีกครั้ง! จนเกิดปรากฏการณ์ ไปอยู่พักหนึ่งเลย ใครเล่นได้คือเท่ และเราก็รู้สึกเท่เช่นเดียวกัน ณ ช่วงเวลานั้น

โดยกฎการเล่น ก็ช่างง่ายดาย คือหมุนยังไงก็ได้ ให้ทั้ง 6 หน้าเป็นสีเดียวกัน โดยใช้เวลา ให้น้อยที่สุด ซึ่งรูบิคก็ได้ ออกแบบมา 10 กว่ารูปแบบ เช่น สูตร รู บิ ค 4*4 , 5×5, ทรงสามเหลี่ยม หรือทรงห้าเหลี่ยม เป็นต้น (ตามรูปด้านล่างนี้)

รูบิคเสริมพัฒนาการ

แต่ถ้าถามว่า รูปแบบไหนนิยมที่สุด ? ในท้ายที่สุด ก็ยังเป็นลูกบาศก์ รูบิค 3×3 อยู่ดี นอกจากการเล่น เพื่อความสนุกสนาน และฝึกสกิลแล้ว ก็ยังมีการจัด สนามการแข่งขันด้วย ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ ที่น่าอัศจรรย์มาก ๆ เพราะระดับโลก มีผู้เล่นมากมาย ที่เล่นได้เก่งมาก ๆ สูตร รู บิ ค นัก แข่ง ไวแบบผู้ชม อึ้งกันไปเลย~

ถ้าไม่มีเออร์โน รูบิค เราอาจจะไม่มี โอกาสได้เล่น ของเล่นเจ๋ง ๆ แบบนี้ก็ได้

เออร์โน รูบิค เป็นคนธรรมดา ที่มีอาชีพเป็น นักประติมากร และยังเป็นอาจารย์ ของมหาวิทยาลัย ในประเทศฮังการีด้วย เขาคิดค้นสิ่งนี้ ขึ้นมาครั้งแรกปี 1974 หลังผ่านไป 3 ปี จึงจะมีการวางขาย ซึ่งกระแสตอบรับ ถือว่าดีทีเดียว เนื่องจากมันถูกขาย ไปตามสถานที่ต่าง ๆ เดินไปที่ไหน ก็จะมีคนเล่น ของเล่นชิ้นนี้กัน จนภายหลังปี 1980 ก็มีการใช้ชื่อเป็น Rubik’s cube ตามชื่อนักประติมากร คนนี้เลย^^

ถ้าสงสัยว่า รูบิคเสริมพัฒนาการ ขายดีขนาดไหน ก็ต้องบอกว่าหลังปี 1980 ของเล่นชิ้นนี้ ขายได้ถึง 3 ร้อยล้านชิ้น!!! จนมีการเลียนแบบ และผลิตตามเยอะเลย และสิ่งที่ไม่ธรรมดา ก็คือมันยังถูกใช้ เป็นเชิงสัญลักษณ์ ของความพยายามอีกด้วย เป็นตำนานทีเดียว

แนะนำของเล่นเด็กโต ชิ้นนี้ เล่นแล้วได้อะไร ?

แน่นอนว่าของเล่น ชิ้นนี้มีประโยชน์ มากกว่าโทษแน่นอน จะมีอะไรบ้าง ไปอ่านกัน เพื่อว่าผู้ปกครองหลาย ๆ คนที่มีเด็กที่บ้าน จะซื้อไปให้เด็ก ๆ เล่นกัน

ของเล่น รู บิ ค

ความพยายาม : สิ่งแรกที่ได้แน่นอน คือความพยายาม การไม่ยอมแพ้ ในการทำให้สำเร็จ ซึ่งการเล่นในช่วงแรก ๆ อาจจะทำให้ หัวร้อนสักหน่อย เพราะไม่เข้าใจ ในการหมุนรูบิค หรือสูตรที่มีอยู่ ซึ่งทำอย่างไรก็ได้ ที่ไม่ใช่การ แกะมันออกมา แล้วประกอบเข้าใหม่ นั่นจะไม่มีประโยชน์ ในการเล่นรูบิคเลย โดยเฉพาะกับเด็ก อาจจะเป็นการ สร้างนิสัยไม่ดีบางอย่าง ให้กับเด็กได้

ห่างจากมือถือ หรือไอแพด : ยุคนี้ต้องยอมรับ ว่าเด็กเข้าถึงโซเชียล หรือเทคโนโลยีกัน ไวมากขึ้นกว่าสมัยก่อน ซึ่งทำให้พฤติกรรมเด็ก เปลี่ยนไปอีกด้วย ไม่ว่าจะการลอกเลียนแบบ สื่อโซเชียลที่ดู สายตาที่เสื่อม ไวกว่าปกติ หรือสมาธิสั้นขึ้น อดทนไม่ค่อยได้ และยังเสี่ยงต่อ มิจฉาชีพด้วย การสนใจในรูบิค จะทำให้ห่างจาก สื่อเหล่านั้นมากขึ้น แถมยังได้ฝึกสมองด้วย

การตัดสินใจ : อาจจะสงสัย ว่าการตัดสินใจ เกี่ยวกับการเล่นด้วยเหรอ ? คนที่เล่นจะรู้ดี ว่าการหมุนแต่ละครั้ง จะส่งผลต่อ เวลาเล่นด้วย ซึ่งถ้าอยากเล่น ให้ไวมากขึ้น ก็ต้องตัดสินใจ และคิดในทุก ๆ การหมุนแต่ละขั้นตอน เป็นการตัดสินใจ ในระยะสั้น

รู้จักสังเกต : สิ่งที่จำเป็น ในการเล่นรูบิค นอกจากการฝึกฝนแล้ว การสังเกตก็สำคัญ แนะนำให้เราลองหา เว็บ แก้ รู บิ ค คนที่มีฝีมือเก่ง ๆ แล้วดูเขาเล่น หรือจะเปิดดูตาม Youtube ก็ได้ ว่าเขามีทริกอย่างไร ในการเล่นให้เก่งขึ้น รู้ บิ ค ไม่ใช้สูตร ทำได้จริงหรือเปล่า ? ก็ต้องไปลองดูกัน^^

สถิติแก้รูบิคได้เร็ว ที่สุดในโลกอยู่ที่ 5.5 วินาที!

ไม่แน่นะว่า ในอนาคตอาจจะมีเด็ก ๆ หน้าใหม่ที่สามารถ ล้มสถิติเดิมได้ ซึ่งท้ายที่สุด มันจะต้องมี วันนั้นแน่นอน~

เทคนิค เล่น รู้ บิ ค ให้ เร็ว

ใครที่อ่านแล้ว มีความสนใจ และยังไม่เคย มีโอกาสเล่น รูบิคเสริมพัฒนาการ มาก่อน ปัจจุบันนี้มีขาย รูบิคหลายร้านค้า หาได้ง่ายมาก ๆ ร้านขายของเล่น หาได้ง่ายมาก ๆ มีทั้งแบบพรีเมี่ยม และแบบทั่วไป แถมยังเสิร์ชหา สูตร รู บิ ค จำ ง่าย หรือ เทคนิค เล่น รู้ บิ ค ให้ เร็ว ได้ง่าย ๆ เลยล่ะ รับรองว่าได้ ฝึกความอดทน และทักษะด้านสมองไปด้วย ลองเล่นกันดูนะ^^

เรียบเรียงโดย M.Varin

Recommended Articles